เคล็ดลับการจำ "ฟังก์ชันตรีโกณมิติ" แบบต่างๆ ด้วยมือซ้าย
เอาจริงๆ วิชาคณิตศาสตร์ อาจจะเป็นวิชาที่เรียนแล้วปวดหัวและเข้าใจยากสำหรับเด็กหลายๆ คน แต่บอกเลยว่าถ้าเรารู้วิธีเรียนรู้และเคล็ดลับในการจำสูตรต่างๆ แล้ว บอกได้เลยว่าวิชาคณิตศาสตร์นั้นมันก็เป็นวิชาที่เข้าใจไม่ยากเลยจริงๆ โดยเฉพาะเรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบต่างๆ ที่มีสูตรต่างๆ มากมายที่แสนจะปวดหัว
โดยในครั้งนี้ Sanook! Campus เราก็เลยอยากจะนำเสนอ สูตรการใช้มือ ในการจำ ฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบต่างๆ มาให้เพื่อนๆ ได้ไปฝึกตามกัน เวลาถึงคาบเรียนคณิตศาสตร์ หรือ เมื่อต้องสอบเกี่ยวกับเรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ จะได้สบายๆ ไม่ต้องปวดหัวอีกต่อไป
วิธีการจำฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบต่างๆ
การใช้นิ้วมือช่วยในการจำค่าตรีโกณมิติของมุมพื้นฐาน
วิธีการนี้ใช้จำค่าตรีโกณมิติของมุมพื้นฐานกล่าวคือ 00, 300, 450, 900 มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
- แบมือซ้ายออกมา มองเลขมุมจับคู่กับนิ้วเรียงจากซ้ายไปขวา เป็นมุม 00, 300, 450, 900 องศา
- เมื่อต้องการหาค่าตรีโกณมิติของมุมใดให้งอนิ้วนั้น สมมติว่าหา cos 300 ก็จะตรงกับนิ้วชี้ ก็งอนิ้วชี้เก็บไว้
- ถือกฎว่า sin–ซ้าย (ออกเสียงคล้ายกัน) cos–ขวา (ออกเสียง /k/ เหมือนกัน) เมื่อหาค่าของฟังก์ชันใดให้สนใจจำนวนนิ้วมือฝั่งที่สอดคล้องกับฟังก์ชันนั้น
- เพื่อจะหาค่า นำจำนวนนิ้วมือด้านที่สนใจติดรากที่สองแล้วหารด้วยสอง (หรืออาจจำว่ามีเลขสองตัวใหญ่ๆอยู่บนฝ่ามือ เมื่ออ่านก็จะเป็น รากที่สองของจำนวนนิ้วมือด้านที่สนใจ หารฝ่ามือ)
- สำหรับ สำหรับ ก็จะได้ว่ามีนิ้วมือเหลืออยู่ทางด้านขวาอีกสามนิ้ว (กลาง นาง ก้อย) ก็จะได้ cos 300 = สำหรับฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นก็ใช้สมบัติของฟังก์ชันนั้นกับ sin และ cos
เช่น tan 450 =