เตรียมตัวเข้าสนามสอบ! แจกขอบข่าย รูปแบบ และจำนวนข้อสอบ 9 วิชาสามัญ TCAS63

เตรียมตัวเข้าสนามสอบ! แจกขอบข่าย รูปแบบ และจำนวนข้อสอบ 9 วิชาสามัญ TCAS63

เตรียมตัวเข้าสนามสอบ! แจกขอบข่าย รูปแบบ และจำนวนข้อสอบ 9 วิชาสามัญ TCAS63
แชร์เรื่องนี้
แชร์เรื่องนี้LineTwitterFacebook

เรียกว่าใกล้เข้ามาแล้วสำหรับสนามสอบ 9 วิชาสามัญ TCAS63 ที่มีวันสอบจริงอยู่ที่วันที่ 14-15 มีนาคม 2563 นี้ ในครั้งนี้ Sanook Campus เราก็เลยจะพาน้องๆ Dek63 มาแอบดูขอบข่ายและรูปแบบข้อสอบ 9 วิชาสามัญ TCAS63 เพื่อเตรียมตัวลงสนามสอบกันซักหน่อยว่าปีนี้เขาจะสอบอะไรกันบ้าง

รูปแบบ และจำนวนข้อสอบ 9 วิชาสามัญ TCAS63

  • วิชาภาษาไทย รหัส 09 จำนวนข้อสอบ 50 คะแนนเต็ม 100 เวลาทำข้อสอบ ข้อละ 1 นาที 48 วินาที
  • วิชาสังคมศึกษา รหัส 19 จำนวนข้อสอบ 50 คะแนนเต็ม 100 เวลาทำข้อสอบ ข้อละ 1 นาที 48 วินาที
  • วิชาภาษาอังกฤษ รหัส 29 จำนวนข้อสอบ 80 คะแนนเต็ม 100 เวลาทำข้อสอบ ข้อละ 1 นาที 7 วินาที
  • วิชาคณิตศาสตร์ (1) รหัส 39 จำนวนข้อสอบ 30 คะแนนเต็ม 100 เวลาทำข้อสอบ ข้อละ 3 นาที
  • วิชาฟิสิกส์ รหัส 49 จำนวนข้อสอบ 25 คะแนนเต็ม 100 เวลาทำข้อสอบ ข้อละ 3 นาที 36 วินาที
  • วิชาเคมี รหัส 59 จำนวนข้อสอบ 50 คะแนนเต็ม 100 เวลาทำข้อสอบ ข้อละ 1 นาที 48 วินาที
  • วิชาชีววิทยา รหัส 69 จำนวนข้อสอบ 80 คะแนนเต็ม 100 เวลาทำข้อสอบ ข้อละ 1 นาที 7 วินาที
  • วิชาคณิตศาสตร์ (2) รหัส 89 จำนวนข้อสอบ 30 คะแนนเต็ม 100 เวลาทำข้อสอบ ข้อละ 3 นาที
  • วิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป รหัส 99 จำนวนข้อสอบ 50 คะแนนเต็ม 100 เวลาทำข้อสอบ ข้อละ 1 นาที 48 วินาที

รูปแบบข้อสอบ เป็นปรนัย 5 ตัวเลือก 1 คำตอบ มีเวลาทำวิชาละ 1 ชั่วโมง 30 นาที

ขอบข่าย 9 วิชาสามัญ TCAS63

วิชา ภาษาไทย

  1. หลักการใช้ภาษา
    1.1 การสะกดคํา
    1.2 การใช้คําตรงความหมาย
    1.3 ความหมายตรง/อุปมา
    1.4 ภาษากํากวม
    1.5 สํานวน
    1.6 ระดับภาษา
    1.7 ประโยคสมบูรณ์
    1.8 เจตนาของประโยค
    1.9 คําทับศัพท์ภาษาอังกฤษ
    1.10 ราชาศัพท์
  2. การพูดการฟัง
    2.1 จุดประสงค์ในการพูด
    2.2 ข้อความถาม – ตอบที่สัมพันธ์กัน
    2.3 บุคลิกของผู้พูด
  3. การเขียน
    3.1 การเรียงลําดับข้อความ
    3.2 การเรียงความ
    3.3 โวหาร
    3.4 การแสดงเหตุผล
    3.5 การแสดงทรรศนะ
    3.6 การโต้แย้ง
    3.7 การโน้มน้าวใจ
  4. การอ่าน4.1 การอ่านเพื่อเข้าใจเนื้อหา
    4.2 การจับใจความ / การสรุปสาระสําคัญของข้อความ
    4.3 การตีความ
    4.4 การวิเคราะห์จุดประสงค์ / เจตนาของผู้เขียน
    4.5 การวิเคราะห์ข้อคิด / แนวคิดที่ได้จากการอ่าน
    4.6 การอนุมานจากเนื้อหาของข้อความที่อ่าน
    4.7 ท่าที / น้ําเสียง / อารมณ์ความรู้สึก / ความคิดเห็นของผู้เขียน

วิชาสังคมศึกษา

  1. ศาสนาศีลธรรมจริยธรรม
    1.1 ความสําคัญศาสดาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาศาสนาอื่นตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
    1.2 การปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดีและธํารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ

  2. หน้าที่พลเมืองวัฒนธรรมและการดําเนินชีวิตในสังคม
    2.1 หน้าที่ของการเป็นพลเมืองที่ดีมีค่านิยมที่ดีงามการธํารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทยการดํารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
    2.2 การเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันการยึดมั่นศรัทธาและธํารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
  3. เศรษฐศาสตร์
    3.1 บริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จํากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดํารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
    3.2 สถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจําเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
  4. ประวัติศาสตร์
    4.1 เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ
    4.2 พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์
    4.3 ชาติไทยวัฒนธรรมภูมิปัญญาไทยมีความรักความภูมิใจและความเป็นไทย
  5. ภูมิศาสตร์
    5.1 โลกทางกายภาพและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิ ศาสตร์ในการค้นหาวิเคราะห์สรุปและใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศ
    5.2 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรมมีจิตสํานึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์อนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยังยืน

วิชาภาษาอังกฤษ

  1. Listening -Speaking Skills
    1.1 Situation dialogues
  2. Reading Skills
    2.1 Graph/chart/diagram/table
    2.2 Different Types of Texts
  3. Writing skills
    3.1 Paragraph Completion
    3.2 Paragraph Organization

วิชาคณิตศาสตร์ (1)

  1. ความรู้พื้นฐาน
    (ไม่ออกข้อสอบในสาระนี้แต่ใช้เป็นความรู้พื้นฐานในสาระที่ 2-7 )เซตและการดําเนินการของเซตตรรกศาสตร์เบื้องต้นความสัมพันธ์ฟังก์ชั่น
  2. ระบบจํานวนจร
    2.1 จํานวนเต็มการหารและขั้นตอนการหาห.ร. ม. และค.ร.น.
    2.2 จํานวนจริงการแก้สมการและอสมการของพหุนามตัวแปรเดียวและในรูปค่าสัมบูรณ์
    2.3 จํานวนเชิงซ้อนการดําเนินการของจํานวนเชิงซ้อนจํานวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้วและการหารากที่ n การแก้สมการพหุนามที่มีรากที่เป็นจํานวนเชิงซ้อน
  3. เรขาคณิต
    3.1 เรขาคณิตวิเคราะห์เส้นตรงวงกลมวงรีพาราโบลาและไฮเพอร์โบลา
    3.2 เวกเตอร์เวกเตอร์ใน 2 และ 3 มิติการบวกลบคูณเชิงเส้นสเกลาร์และการคูณเชิงเวกเตอร์
    3.3 ตรีโกณมิติฟังก์ชั่นตรีโกณม ิติและฟังก์ชันผกผันสมการตรีโกณมิติกฎของโคไซน์และไซน์
  4. พีชคณิต
    4.1 เมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนท์สมบัติของเมทริกซ์และดีเทอร์มิแนนท์การดําเนินการตามแถวการหาตัวแปรผกผันการคูณของเมทริกซ์และการแก้ระบบสมการ
    4.2 ฟังก์ชันเอกโพเนนเซียลเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนตรรกยะสมบัติของเลขยกกําลังฟังก์ชันเอกโพเนนเซียลสมการและอสมการเอกซ์โพเนนเซียล
    4.3 ฟังก์ชันลอการิทึมลอการิทึมและสมบัติของลอการิทึมฟังก์ชันลอการิทึมสมการและอสมการลอการิทึม
  5. ความน่าจะเป็นและสถิติ
    5.1 ความน่าสนใจวิธีการเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่ทฤษฎีบททวินามความน่าจะเป็นและกฎพื้นฐานที่สําคัญ
    5.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นค่ากลางของข้อมูลการวัดตําแหน่งที่และการวัดการกระจายของข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างการแจกแจงความถี่ค่ากลางและการกระจายของข้อมูล
  6. แคลคูลัส6
    .1 ลําดับและอนุกรมการลู่เข้าของลําดับและอนุกรม
    6.2 ลิมิตลิมิตและความต่อเนื่อง
    6.3 อนุพันธ์อนุพันธ์และสมบัติของอนุพันธ์ความชันอนุพันธ์ของฟังก์ชันประกอบการประยุกต์
    6.4 ปริพันธ์ปริพันธ์ไม่จํากัดเขตปริพันธ์จํากัดเขตการหาพื้นที่ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง
  7. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
    เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในสาระที่ 1- 6 เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

วิชาฟิสิกส์

  1. กลศาสตร์จลนศาสตร์แรงและการเคลื่อนที่แรงต้านการเคลื่อนที่ - การเคลื่อนที่แบบวงกลมการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์การเคลื่อนที่แบบมีคาบ (การเคลื่อนที่แบบกวัดแกว่ง) การหมุนสมดุลงาน-พลังงานโมเมนตัมและการชน
  2. สมบัติของสสารความยืดหยุ่น - กลศาสตร์ของไหลคลื่นแสงเสียง
  3. ไฟฟ้า - ไฟ้ฟ้าสถิตไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสสลับ
  4. แม่เหล็ก - แรงแม่เหล็กสนามแม่เหล็กการเหนี่ยวนํามอเตอร์/ไดนาโมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
  5. ฟิสิกส์ยุคใหม่ - แบบจําลองอะตอมฟิสิกส์ควอนตัมสมการปฏิกิริยานิวเคลียร์การสลายตัวของนิวเคลียส

วิชาเคมี

  1. อะตอมและตารางธาตุ
  2. พันธะเคมี
  3. สมบัติของธาตุและสารประกอบ
  4. ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี
  5. ของแข็งของเหลวและแก๊ส
  6. อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
  7. สมดุลเคมี
  8. กรด-เบส
  9. ไฟฟ้าเคมี
  10. ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
  11. เคมีอินทรีย์
  12. เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ์และผลิตภัณฑ์
  13. สารชีวโมเลกุล

วิชาชีววิทยา

  1. สิ่งมีชีวิตกับการดํารงชีวิต
    1.1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
    1.2 เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
    1.3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
    1.4 ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารให้ได้พลังงาน
    1.5 ระบบหมุนเวียนเลือด
    1.6 ระบบขับถ่าย
    1.7 ระบบหายใจ
    1.8 การเคลื่อนที่ ของสิ่งมีชีวิต
    1.9 การรับรู้และการตอบสนอง
    1.10 ระบบต่อมไร้ท่อ
    1.11 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
    1.12 ระบบภูมิคุ้ มกันของร่างกาย
    1.13 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
    1.14 การสังเคราะห์ด้วยแสง
    1.15 การสืบพันธุ์ของพืชดอก
    1.16 การตอบสนองของพืช
    1.17 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
    1.18 ยีนและโครโมโซม
    1.19 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ
    1.20 วิวัฒนาการ
    1.21 ความหลากหลายทางชีวภาพ
  2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
    2.1 ดุลยภาพของระบบนิเวศ
    2.2 ประชากรและกระบวนการเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต
    2.3 พฤติกรรมสัตว์
    2.4 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม

วิชาคณิตศาสตร์ (2)

  1. จํานวนจริงและการดําเนินการ
    1.1 จํานวนจริง
    1.2 ค่าสัมบูรณ์ของจํานวนจริง
    1.3 รากที่ n ของจํานวนจริงและเลขยกกําลังที่มี เลขชี้กําลังเป็นจํานวนตรรกยะ
    1.4 การประมาณค่า
  2. การวัดอัตราส่วนตรีโกณมิติและการนําไปใช้
  3. พีชคณิต
    3.1 เซตและการดําเนินการของเซต
    3.2 การให้เหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย
    3.3 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
    3.4 กราฟความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
    3.5 สมการและอสมการตัวแปรเดียวของพหุนามดีกรีไม่เกินสอง
    3.6 ลําดับและอนุกรมเลขคณิตและเรขาคณิต
    3.7 ลําดับและการหาพจน์ทั่วไปของลําดับ
    3.8 การนํากราฟไปใช้ในการแก้สมการและอสมการ
  4. ความน่าจะเป็น
    4.1 การแจกแจงความถี่ของข้อมูล
    4.2 ค่ากลางของข้อมูล
    4.3 การวัดการกระจายของข้อมูล
    4.4 การวัดตําแหน่งที่ของข้อมูล
    4.5 กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ
    4.6 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์

วิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป

  1. พันธุกรรม
  2. สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
  3. อยู่ดีมีสุข
  4. อยู่อย่างปลอดภัย
  5. ธาตุ และสารประกอบ
  6. ปฏิกิริยาเคมี
  7. สารชีวโมเลกุล
  8. ปิโตรเลียม
  9. พอลิเมอร์
  10. การเคลื่อนที่
  11. แรงในธรรมชาติ
  12. คลื่นกล
  13. เสียง
  14. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
  15. พลังงานนิวเคลียร์
  16. โครงสร้างโลก
  17. การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
  18. แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด
  19. ธรณีประวัติ
  20. กําเนิดเอกภพ
  21. ดาวฤกษ์
  22. ระบบสุริยะ
  23. เทคโนโลยีอวกาศ
  24. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
แชร์เรื่องนี้
แชร์เรื่องนี้LineTwitterFacebook