"เลิกเกรียน เลิกติ่ง" ทำได้จริงหรือแค่มโน?
มั่นใจได้เลยว่า แทบทุกคนที่อยู่ในระบบการศึกษาของโรงเรียนในบ้านเราจะต้องเคยเจอกับกฎระเบียบที่เข้มงวดเรื่อง “ทรงผม” แน่นอน กับกฎ “ชายเกรียน หญิงติ่ง” หลายคนอาจถึงขั้นเคยโดนลงโทษมาแล้ว
แท็ก
มั่นใจได้เลยว่า แทบทุกคนที่อยู่ในระบบการศึกษาของโรงเรียนในบ้านเราจะต้องเคยเจอกับกฎระเบียบที่เข้มงวดเรื่อง “ทรงผม” แน่นอน กับกฎ “ชายเกรียน หญิงติ่ง” หลายคนอาจถึงขั้นเคยโดนลงโทษมาแล้ว
ก่อนที่นักเรียนเหล่านี้ จะเดินทางไปยื่นหนังสือถึงกระทรวงศึกษาธิการ พวกเขาต่างพูดคุยถึงปัญหานี้ผ่านแฟนเพจ สหายเดียร์ มาระยะหนึ่งแล้ว เนื่องจากแฟนเพจนี้ ได้จัดแคมเปญที่ชื่อว่า โรงเรียนยังเกรียนอยู่ พร้อมแชร์เรื่องราวของพวกเขาสู่พื้นที่เฟซบุ๊ก ที่ขณะนี้มีผู้ติดตามกว่า 3 หมื่นราย
เราคิดเป็นค่ะ ตัวแทนนักเรียนหญิงพูดถึงกรณีควรยกเลิกเครื่องแบบนักเรียนที่ ก. ศึกษาธิการบังคับให้ทุกคนต้องแต่งไปโรงเรียน
ปลายสัปดาห์ที่ผ่านมาได้ลงนามในหนังสือเวียนของ ศธ.เกี่ยวกับเรื่องทรงผมนักเรียนเพื่อแจ้งเวียนไปหน่วยงานต้นสังกัดที่มีสถานศึกษาเพื่อให้มีการแจ้งเวียนไปยังโรงเรียนในสังกัด ศธ.ทั่วประเทศได้รับทราบและถือปฏิบัติ
"ระบบการศึกษาไทยกลับให้ความสำคัญกับสิ่งที่อยู่ในหัวของเด็กน้อยกว่าสิ่งที่อยู่นอกหัวของเด็ก"
วันนี้ทีมงาน Sanook! Campus ขอออกไปฟังเสียงน้องๆ วัยเรียน ไปดูกันสิว่า พวกเด็กๆ คิดเห็นอย่างไร ในประเด็น ยกเลิก "ผมทรงนักเรียน"
นส่วนของโรงเรียนในสังกัด กทม.ที่มีนักเรียนประมาณ 300,000 คนนั้น ยังไม่มีคำสั่งให้ดำเนินการตามที่ ศธ.สั่งการ
รมว.ศึกษาธิการ สั่ง ศธ.ร่อนหนังสือเวียนแจ้งทุกโรงเรียนในสังกัด เลิกบังคับ นร.ชายตัดผม "เกรียน" ตามกฎกระทรวงปี 2515 และเลิกบังคับนร.หญิงไว้ทรง "กะลาครอบ"