ข้อมูลส่วนตัวที่ถูกมิจฉาชีพขโมยไป นำไปใช้ทำอะไรได้บ้าง
เคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ ว่าข้อมูลส่วนบุคคลที่พวกมิจฉาชีพจ้องจะขโมยจากเรา ด้วยการส่งลิงก์ปลอมมาให้บ้าง หลอกถามจากเราผ่านเว็บไซต์ปลอมบ้าง แอบแฮกเข้ามาในบัญชีของเราบ้าง
แท็ก
เคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ ว่าข้อมูลส่วนบุคคลที่พวกมิจฉาชีพจ้องจะขโมยจากเรา ด้วยการส่งลิงก์ปลอมมาให้บ้าง หลอกถามจากเราผ่านเว็บไซต์ปลอมบ้าง แอบแฮกเข้ามาในบัญชีของเราบ้าง
ในปัจจุบันมิจฉาชีพได้มีการคิดมุก คิดกลลวงใหม่ ๆ ขึ้นมามากมาย และวิธียอดฮิตมากที่สุด คงหนีไม่พ้น SMS ปลอม หากใครเผลอคลิกเข้าไป คิดว่าเป็นข้อความ SMS จากหน่วยงานรัฐบาล หรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง ก็อาจจะทำให้สูญเสียทรัพย์สินไปได้
ทุกวันนี้ พวกมิจฉาชีพมักใช้มุกส่ง “ลิงก์ปลอม” ที่ไม่เป็นมิตรต่ออุปกรณ์และเงินในบัญชีของเรา เป็นวิธีหลัก ๆ ในการตกเหยื่อ เพราะการเป็นแก๊งคอลเซ็นเตอร์ แล้วโทรศัพท์มาแอบอ้าง คนเริ่มไหวตัวและรู้ทันกันเยอะขึ้น
พูดถึงการใช้ประโยชน์จาก “เบอร์มือถือ” เราพอจะนึกกันออกไหมว่าทุกวันนี้เราใช้เบอร์มือถือทำอะไรกันบ้างในชีวิตประจำวัน เมื่อลองมาพิจารณาดูดี ๆ จะเห็นว่าเราใช้ประโยชน์จากเบอร์มือถือทำกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโลกออนไลน์เยอะมาก
ในยุคสมัยที่ “มิจฉาชีพ” ขยันติดต่อเราซะยิ่งกว่าเพื่อนฝูงญาติมิตร นอกจากจะสร้างความรำคาญให้กับเราที่ต้องมาคอยกดรับสายวางสายมือเป็นระวิงแล้ว สิ่งที่น่ากลัวยิ่งกว่าก็คือบทสนทนาจากทางปลายสายที่อาจทำให้เราสูญเสียทรัพย์สินมากมาย
ปัจจุบัน WiFi ฟรี หรือ WiFi สาธารณะ มีให้บริการทั่วไป แต่มิจฉาชีพอาจใช้เป็นช่องทางแฮ็ก ปล่อยมัลแวร์ ดูดข้อมูล ขโมย Password โดยมีวิธีใช้ WiFi ฟรีแบบปลอดภัย มั่นใจ ไม่ถูกแฮ็ก ดังนี้
เป็นที่ทราบกันดีว่าทุกวันนี้สังคมของเรามีมิจฉาชีพอยู่เกลื่อนกลาดทั่วทุกมุมเมือง ทั้งออนไลน์ ออฟไลน์ โลกจริง โลกเสมือน ล้วนมีช่องทางให้มิจฉาชีพแอบแฝงตัวหากินได้เสมอ
ทุกวันนี้ มิจฉาชีพมักจะก้าวไปเร็วกว่าเราหนึ่งก้าวเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคที่การทำธุรกรรมแทบจะกลายเป็นออนไลน์ไปเกือบทั้งหมด เมื่อมิจฉาชีพสามารถเข้าถึงคุณได้อย่างง่ายทางโทรศัพท์
แม้ว่าจะมีข่าวที่ประกาศเตือนภัยมิจฉาชีพในรูปแบบต่าง ๆ อยู่ทุกวัน แต่ในขณะเดียวกันก็มีข่าวของคนที่ตกเป็นเหยื่อแก๊งมิจฉาชีพอยู่ทุกวันเช่นเดียวกัน
หลังจากที่ก่อนหน้านี้ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้ออกชุดมาตรการจัดการภัยทุจริตทางการเงินเพื่อป้องกันมิจฉาชีพที่จะเข้ามาหลอกลวงประชาชนด้วยวิธีต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น SMS หลอกลวง แก๊งคอลเซ็นเตอร์ แอปพลิเคชันให้สินเชื่อปลอม
หากพูดถึงภัยไซเบอร์จาก “มิจฉาชีพออนไลน์” ในปัจจุบัน เชื่อว่าหลายคนเคยได้ยินข่าวการโจมตีสถาบันการเงิน ภาคธุรกิจต่าง ๆ หรือหน่วยงานภาครัฐมาบ้างแล้ว แต่ในความเป็นจริงนั้น ภัยไซเบอร์อยู่ใกล้ตัวเรามากกว่าที่คิด
ปัจจุบันนี้ แพลตฟอร์มช้อปปิงออนไลน์กำลังได้รับความนิยมมาก จนกลายเป็นแหล่งที่คนเลือกช้อปเป็นอันดับต้น ๆ เมื่อต้องการซื้อข้าวของเครื่องใช้ต่าง ๆ เพราะทั้งง่าย ทั้งสะดวก แค่กดเข้าแอปฯ ผ่านโทรศัพท์มือถือ
เรื่องราวของ “แบงก์ปลอม” ก็ไม่เคยหายไปจากสังคม อาจจะมีบางช่วงที่ระบาดหนัก ๆ แล้วก็แผ่วไปจากการปราบปราม แต่ในตลาดก็น่าจะมีเงินบางส่วนที่เป็นแบงก์ปลอมหมุนเวียนใช้อยู่เรื่อย ๆ จากการที่คนไม่รู้ เพราะเงินเปลี่ยนมือบ่อย
ทุกวันนี้การจะซื้ออะไรสักอย่าง เกิดขึ้นง่ายดายเพียงแค่ปลายนิ้วจิ้มสองสามที เปิดดีลคุยจบโอนเงินแล้วก็รอรับสินค้าที่บ้าน เป็นที่ถูกใจของคนทุกเพศทุกวัย ง่ายมากเลยใช่ไหมล่ะ
ยุคสมัยที่ใคร ๆ ก็บอกว่าเศรษฐกิจกำลังตกสะเก็ด แต่ทำไมมีเศรษฐีใหม่เกิดขึ้นรายวัน โชว์เงินแสน เงินล้านกันทางยูทูบบ้าง เฟซบุ๊กบ้าง แล้วมาชักชวนให้เราร่วมลงทุน
เรียกว่าเป็นเรื่องราวที่หัวจะปวดแบบอิหยังวะกันรัวๆ หลังจากที่แฟนเพจ I’M Salmon ได้มีการเผยแชทบทสนทนาสุดป่วง ที่มีมิจฉาชีพเข้ามาหลอกสั่งสินค้าที่เห็นแล้วถึงกับกุมขมับ
ในปัจจุบันนี้มิจฉาชีพมีมาทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นแก๊งคอลเซนเตอร์ หรือพวกปลอมเฟซบุ๊กที่หลอกเหยื่อให้หลงเชื่อแล้วให้โอนเงิน ซึ่งต้องบอกเลยว่าจะทำธุรกรรมออนไลน์อะไรก็ต้องมีความระวังกันมากขึ้น
เรียกว่าเป็นคลิปสุดไวรัลที่สร้างความตกใจสำหรับผู้ใช้รถบนท้องถนนเป็นอย่างมาก หลังจากที่มีการแชร์คลิปนาทีถูกขอทานเด็กข่มขู่ ทุบกระจกรถเพื่อขอเงินบริจาค
ทุกวันนี้ กลโกงจากการซื้อขายของออนไลน์มีมาหลากหลายรูปแบบ มีสารพัดวิธีที่ทำให้มิจฉาชีพสามารถหลอกเหยื่อได้อย่างต่อเนื่องและยาวนาน
เรียกว่าเป็นเรื่องราวดีๆ ของสังคมที่ต้องแชร์ต่อกันรัวๆ เลย สำหรับพี่พนักงานขนส่ง อานนท์ กิ่งเกาะยาว หรือคุณกระดาษ ที่ได้ทำคลิปเตือนภัยเหล่าๆ น้องๆ และผู้ปกครองที่สั่งของออนไลน์และอาจจะถูกโกงจากมิจฉาชีพ