เปิดที่มา สำนวน เถียงไม่ตกฟาก คำว่า ฟาก จริงๆ แล้วคือไม้ไผ่นะ
วันนี้ Sanook Campus เราก็จะพาเพื่อนๆ มาทำความเข้าใจของความหมายของคำว่า เถียงคำไม่ตกฟาก กันซักหน่อย ว่าคำดังกล่าวนี้มีที่มาที่ไปจากไหนกันแน่
แท็ก
วันนี้ Sanook Campus เราก็จะพาเพื่อนๆ มาทำความเข้าใจของความหมายของคำว่า เถียงคำไม่ตกฟาก กันซักหน่อย ว่าคำดังกล่าวนี้มีที่มาที่ไปจากไหนกันแน่
รู้กันรึเปล่า ว่าสำนวนไทยที่เราได้ยินกันบ่อยๆ อย่างคำว่า เหมือนกันอย่างกับแกะ ที่เอาไว้ใช้กับในสถานการณ์ที่เจอของสิ่งที่เหมือนๆ กัน นั้นความจริงแล้ว แกะในรูปประโยคนั้นไม่ใช่แกะที่เป็นสัตว์หรอกนะ
สำนวน สุภาษิต และคำพังเพยนั้น เป็นถ้อยคำที่มีความหมายคล้าย ๆ กัน โดยทั่วไปมักเป็นถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว
ต้องบอกได้เลยว่าความคิดและจินตนาการของเด็กนักเรียนเป็นอะไรที่ล้ำเกินกว่าคุณครูจะคาดคิดเลยก็ว่าได้ ซึ่งมักจะเห็นได้ในการบ้านของนักเรียน ที่มักจะทำให้ครูหลายๆ คนกุมขมับอยู่บ่อยๆ
เป็นแบบทดสอบการบ้านเพื่อวัดความสร้างสรรค์ของนักเรียนกันเลยทีเดียว สำหรับการบ้านวิชาภาษาไทย ที่ให้นักเรียนเขียนสำนวนไทย ในแบบที่มีความแปลกใหม่ไม่เหมือนใครกันเลยทีเดียว
เราเชื่อว่าหลายๆ คนอาจจะได้ยินสำนวนที่ว่า ผู้ชายเป็นช้างเท้าหน้า และ ผู้หญิงเป็นช้างเท้าหลัง ซึ่งมีความหมายที่ว่า ผู้ชายเป็นผู้นำ และผู้หญิงเป็นผู้ตาม
คำว่า สำนวน และ สุภาษิต นั้น เป็นคำที่มีความหมายคล้าย ๆ กัน กล่าวถึงคำสอน ถ้อยคำข้อความที่มีไว้เพื่อเตือนสติ และสะท้อนให้เห็นค่านิยม หรือทัศนคติของคนในชาติ
ถ้าหากเพื่อนๆเรียนรู้ภาษาอังกฤษมากในระดับหนึ่ง ในบางครั้งอาจจะรู้สึกสับสนที่เจอคำศัพท์แปลกๆ ที่เมื่อแปลแล้วจะรู้สึกว่าไม่ใช่แบบนี้หรือไม่สมเหตุสมผล
สำนวนภาษาอังกฤษเป็นส่วนหนึ่งในการใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เพื่อนๆจะได้เจอสิ่งเหล่านี้เสมอไม่ว่าจะเป็นการพูดในชีวิตประจำวันหรือการอ่านบทความในหนังสือ สำนวนบางสำนวนไม่สามารถแปลตรงตัวได้ เราจึงควรเรียนรู้และทำความเข้าใจทั้งความหมายและวิธีการใช้สำนวนเหล่านี้ เพื่อที่จะพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษให้เหมือนเจ้าของภาษามากขึ้น
คว่ำบาตร คือการประกาศตัดสัมพันธ์ กับผู้ที่ ทำผิดทางศาสนา อย่างแรง คฤหัสถ์ ที่ถูกสงฆ์คว่ำบาตร คือผู้ทำความผิดแปดอย่าง ได้แก่
ตัดหางปล่อยวัด เป็นสำนวนหมายถึง ตัดขาดไม่เกี่ยวข้อง ไม่เอาเป็นธุระอีกต่อไป