ข้อมูลส่วนตัวที่ถูกมิจฉาชีพขโมยไป นำไปใช้ทำอะไรได้บ้าง
เคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ ว่าข้อมูลส่วนบุคคลที่พวกมิจฉาชีพจ้องจะขโมยจากเรา ด้วยการส่งลิงก์ปลอมมาให้บ้าง หลอกถามจากเราผ่านเว็บไซต์ปลอมบ้าง แอบแฮกเข้ามาในบัญชีของเราบ้าง
แท็ก
เคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ ว่าข้อมูลส่วนบุคคลที่พวกมิจฉาชีพจ้องจะขโมยจากเรา ด้วยการส่งลิงก์ปลอมมาให้บ้าง หลอกถามจากเราผ่านเว็บไซต์ปลอมบ้าง แอบแฮกเข้ามาในบัญชีของเราบ้าง
เป็นที่ทราบกันดีว่าทุกวันนี้สังคมของเรามีมิจฉาชีพอยู่เกลื่อนกลาดทั่วทุกมุมเมือง ทั้งออนไลน์ ออฟไลน์ โลกจริง โลกเสมือน ล้วนมีช่องทางให้มิจฉาชีพแอบแฝงตัวหากินได้เสมอ
เมื่อทุกอย่างถูกรวมไว้ในที่เดียว มันสะดวกสบายสำหรับผู้ใช้งานก็จริง แต่ในขณะเดียวกัน มันก็กลายเป็นสิ่งเปราะบางและเป็นจุดอ่อนที่มักจะถูกจู่โจมได้ง่ายที่สุดด้วย
นานเท่าไรแล้วที่คุณไม่ได้กดปิดโทรศัพท์มือถือของคุณ! โดยเฉพาะคนที่อาศัยใช้ฟังก์ชันนาฬิกาปลุกจากสมาร์ตโฟน ยิ่งมีความเป็นไปได้สูงว่าคุณไม่ได้ปิดโทรศัพท์ของตัวเองเลยตลอดทั้งปี
“แต๊ก ๆๆ” คุณรู้หรือยังว่าเสียงกดแป้นคีย์บอร์ดที่คุ้นหูนี้อันตรายมากกว่าที่คุณคิดเสียอีก เพราะมันไม่ใช่แค่เสียงหนวกหูที่สร้างความน่ารำคาญทางโสตประสาทให้กับคนที่นั่งทำงานใกล้ ๆ เท่านั้น แต่มันอาจร้ายแรงถึงขั้น “โดนขโมยรหัสผ่าน” กันเลยทีเดียว
หลายปีก่อน คงไม่มีใครคาดคิดว่าวิถีชีวิตของคนเราจะปรับเปลี่ยนมาเป็นดิจิทัลได้ขนาดนี้ ทุกสิ่งทุกอย่างถูกยกระดับขึ้นไปไว้บนออนไลน์ จุดประสงค์หลักก็คือเพื่อความง่ายและสะดวกสบาย
หลังจากที่มีการรายงานว่า เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของศาลรัฐธรรมนูญไทย ถูกแฮกเกอร์เข้าไปเจาะระบบ และทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูล ด้วยการอัปโหลดหน้าเว็บไซต์ใหม่ และ เปลี่ยนชื่อบรรยายเว็บไซต์เป็น Kangaroo Court
เด็กน้อยผู้มีความสนใจในเรื่องของการแฮกข้อมูลต่างๆ นี้ ตั้งฉายาให้ตัวเองว่า "นินจาไซเบอร์" เขาเริ่มฝึกแฮกคอมพิวเตอร์มาตั้งแต่อายุประมาณ 6-7 ขวบ ซึ่งเป็นตอนที่เขาเริ่มให้ความสนใจในเรื่องเทคโนโลยี และเริ่มต้นค้นคว้าและเรียนรู้เกี่ยวกับการแฮกเป็นครั้งแรก