ครูโฉด! ลงโทษให้นักเรียนตบหน้ากันเอง แล้วตัวเองยืนดูแล้วยิ้มอย่างมีความสุข
กลายเป็นเรื่องราวที่ทำให้ผู้ปกครองเดือดกันอย่างมากเลยทีเดียว เมื่อมีการปล่อยภาพครูสุดโหดให้นักเรียนตบหน้ากันเองเพื่อเป็นการลงโทษ และถ้าใครชนะจะได้เงินเป็นรางวัล
แท็ก
กลายเป็นเรื่องราวที่ทำให้ผู้ปกครองเดือดกันอย่างมากเลยทีเดียว เมื่อมีการปล่อยภาพครูสุดโหดให้นักเรียนตบหน้ากันเองเพื่อเป็นการลงโทษ และถ้าใครชนะจะได้เงินเป็นรางวัล
สถาบันกวดวิชา เผยยอดเด็กกวดวิชาลด เพราะอัตราการเกิดของไทยต่ำ และเศรษฐกิจซบเซา
หลังจากที่มีพระราชกฤษฎีกายกเลิกการยกเว้นภาษีเงินได้ให้กับโรงเรียนกวดวิชา ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อ 11 ก.ค. 2558 ส่งผลให้โรงเรียนกวดวิชาต้องปรับตัวพร้อมมีกระแสว่าอาจต้องปรับขึ้นค่าเรียน
สรรพากรทุบโต๊ะ กฎหมายใหม่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เริ่มนับหนึ่งเก็บภาษีโรงเรียนกวดวิชาทันที ปัดข้อเสนอเลื่อนจัดเก็บไปปีหน้า เรียกกวดวิชา 2,000 แห่งติวเข้ม ด้านผู้ประกอบการเร่งปรับแผนรัดเข็มขัด หวั่นขึ้นราคาค่าคอร์สกำลังซื้อหด
โรงเรียนกวดวิชาทุกแห่งต้องติดป้ายประกาศชัดเจนว่าได้รับอนุญาตจากสช.ให้เปิดสอน โดยจัดเก็บค่าเรียนกวดวิชาแต่ละคอร์ส และแต่ละวิชาราคาเท่าใด
ศธ.เตรียมชงครม.เก็บภาษีเงินได้โรงเรียนกวดวิชา ผู้ช่วยเลขาฯรมต.แนะต้องลดปริมาณการติว
ธุรกิจโรงเรียนกวดวิชาภูธรระทึก ผวารัฐโขกภาษี แบรนด์เล็กกระอัก โอดซ้ำเติมแข่งขันเดือด บิ๊กแบรนด์เมืองกรุงแห่ชิงตลาด
เล็งเก็บภาษีแบบลดหย่อน "กวดวิชา" สช.แยกประเภท ร.ร.ที่ประกอบเชิงธุรกิจ ก.คลังเร่งสรุปตัวเลขชง ครม. 18 ม.ค.58
การเก็บภาษีดังกล่าวเป็นการดำเนินการที่กรมสรรพากรสามารถทำได้เอง ไม่ต้องหารือกับกระทรวงศึกษาธิการ และไม่ต้องแก้กฎหมายของกระทรวงอื่น
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน-นายกสมาคมโรงเรียนกวดวิชา ออกโรงเรื่องเก็บภาษี ขอให้กลับไปดูพ.ร.บ.การศึกษา แนะอาจเป็น "การลดหย่อน" แทน "ยกเว้น" หรือ เก็บเฉพาะ "แวต"
เจ้าของติวเตอร์ดังโอดเก็บภาษีโรงเรียนกวดวิชา ยันกำไรไม่มากอย่างที่คิด บางสาขาก็ขาดทุน ค่าเรียนเฉลี่ยแค่ ชม.ละ 20 กว่าบาท ขู่ได้ไม่คุ้มเสีย ผู้บริโภคต้องรับภาระอยู่ดี ขณะที่ ศธ.ขานรับมติ ครม. เตรียมแก้ กม.การศึกษาเอกชนเลิกยกเว้น
การพูดกันว่าโรงเรียนกวดวิชามีรายได้เป็นหมื่นล้านบาทรวมกันต่อปีนั้นตัวเลขไม่น่าจะถึงขนาดนั้นเพราะเท่าที่จำได้ตัวเลขดังกล่าวน่าจะเป็นการประเมินของนักวิชาการมหาวิทยาลัยคนหนึ่งเท่านั้นไม่น่าจะเป็นข้อมูลที่แท้จริง
เด็กมาเรียนกวดวิชาน้อยลง โดยบางโรงเรียน เด็กลดลงเกือบ 100% เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจที่ต่ำลง
โรงเรียนกวดวิชาลดน้อยลงมาก โดยสาเหตุที่น้อยลง อาจเพราะ อัตราการเกิดของประชากรลดลง จึงทำให้ยอดเด็กที่ไปสมัครเรียนกวดวิชาลดลงตามไปด้วย
ขวบปีที่ผ่านมาโรงเรียนกวดวิชาหลายแห่งได้ปรับแบรนด์ของตัวเอง ไม่ว่าจะเป็นชื่อ, โลโก้, รูปแบบการสอน, วิชาเรียน ตลอดจนหันมาใส่ใจกับเรื่องกายภาพอย่างสถานที่เรียน และสถานที่พักผ่อนเพื่อให้สะดวกสบายมากขึ้น ทั้งในส่วนของผู้เรียนและผู้ปกครอง
นักเรียนเลือกชื่อเสียงของโรงเรียนกวดวิชามาเป็นอันดับแรก และยังเชื่อว่าต้องเรียนพิเศษเพราะในปัจจุบันการแข่งขันทางการศึกษาสูงขึ้นเพื่อพัฒนาตนเอง