ชื่อสามัญภาษาไทยCrocodilus porosus
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษESTUARINE CROCODILE
ชื่อไทยอื่นๆ
ลักษณะทั่วไปลักษณะของCrocodilus porosus เป็นจระเข้หนึ่งในสามชนิดที่พบในประเทศไทย ลำตัวยาวมีลักษณะค่อนข้างกลม ท้องแบนราบ จะงอยปากยาวและส่วนปลายค่อนข้างแหลม จระเข้น้ำเค็มไม่มีเกล็ดที่บริเวณท้ายทอย ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากจระเข้ชนิดอื่นที่พบในบ้านเรา ขามี 2 คู่ ใช้สำหรับเดินและวิ่ง ขาคู่หน้าไม่ค่อยแข็งแรง มีนิ้ว 5 นิ้ว ขาคู่หลังมีลักษณะแข็งแรงกว่าและมีเพียง 4 นิ้ว
ถิ่นอาศัย แหล่งที่พบCrocodilus porosusพบอาศัยอยู่บริเวณปากแม่น้ำหรือใกล้คลอง ซึ่งมีคุ้งน้ำกว้างใหญ่ทางแถบภาคใต้ในอดีตมีชุกชุมในแม่น้ำหลังสวน เคยมีจระเข้ขึ้นมาอาละวาดไล่กัดผู้คนจนปรากฎเป็นข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ แม่น้ำปากพนังและแม่น้ำตาปี ก็นับเป็นแหล่งที่มีจระเข้ชนิดนี้ชุกชุม ปัจจุบันเหลือเฉพา
อาหารCrocodilus porosusกินเนื้อสัตว์ สัตว์น้ำและสัตว์บกอื่น ๆ ที่ลงไปหากินบริเวณริมน้ำ สำหรับเนื้อมนุษย์นั้นไม่นับว่าเป็นอาหารแท้จริงของจระเข้ ถ้าหากจระเข้ตัวนั้นยังมีร่างกายสมบูรณ์เป็นปกติ แต่จระเข้ที่บาดเจ็บจะอาละวาดไล่กวดทำร้ายผู้คนและเรือแพที่สัญจรผ่านไปมาบริเวณแหล่งน้ำที่ม
ขนาดโดยทั่วไปมีความยาวไม่เกิน 4 เมตร แต่ขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยบันทึกมีความยาวมากกว่า 9.90 เมตร
รูปภาพ