ชื่อสามัญภาษาไทยGREATER BROOK CARP
ชื่อวิทยาศาสตร์Tor tambroides
ชื่อไทยอื่นๆ
ลักษณะทั่วไปลักษณะของGREATER BROOK CARP เป็นปลาน้ำจืดที่อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน รูปทรงคล้ายคลึงกับปลาตะเพียนขาว แต่มีสีสันสะดุดตากว่า ลำตัวมีสีฟ้าอมเขียว บริเวณส่วนหลังเขียวเข้ม เกล็ดโต แต่ละเกล็ดจะมีจุดสีน้ำเงินเล็ก ๆ เรียงกันเป็นวง ดูคล้ายเป็นร่างแหอยู่ทั่วตัว ทุกครีบมีสีน้ำเงินเข้ม หัวมีขนาดค่อนข้างเล็กเมื่อเทียบกับลำตัวมีหนวดยาว 2 คู่ ตรงบริเวณจะงอยปาก และมุมปาก ริมฝีปากหนา นัยน์ตาค่อนข้างเล็ก
ถิ่นอาศัย แหล่งที่พบGREATER BROOK CARPชอบอยู่ในบริเวณน้ำตก ห้วย และลำธารที่มีน้ำใสสะอาด มีพื้นเป็นกรวดหินหรือทราย เช่นในแม่น้ำไทรโยคน้อย กาญจนบุรี แม่น้ำวัง เชียงใหม่ แม่น้ำปาย แม่ฮ่องสอน แม่น้ำโขง หนองคาย ทางภาคใต้จะมีอยู่ในจังหวัดปัตตานี ปกติชอบอยู่บริเวณต้นน้ำ แต่ในฤดูฝนจะอพยพย้ายถิ่นลงมาท
อาหารGREATER BROOK CARPกินพืชพันธุ์ไม้น้ำ ผลไม้และเมล็ดพืชแทบทุกชนิด
ขนาดโดยทั่วไปจะมีความยาวประมาณ 40-50 ซ.ม. แต่มีบันทึกว่าเคยจับได้ขนาดยาว 1 เมตร
รูปภาพ