labiobarbus-siamensis คืออะไร แปลว่าอะไร ตัวอย่างประโยค จากพจนานุกรมข้อมูลภาพปลาและสัตว์น้ำไทย

ผลการค้นหาคำศัพท์

Labiobarbus siamensis

พจนานุกรมภาพปลาและสัตว์น้ำไทยความหมายจาก พจนานุกรมภาพปลาและสัตว์น้ำไทย

Labiobarbus siamensis

ชื่อสามัญภาษาไทยLabiobarbus siamensis

ชื่อสามัญภาษาอังกฤษBARB

ชื่อไทยอื่นๆ

ลักษณะทั่วไปลักษณะของLabiobarbus siamensis ปลาซ่าที่พบเห็นในเมืองไทยมีอยู่ประมาณ 2-3 ชนิด และมีรูปร่างคล้ายคลึงกัน คือลำตัวด้านข้างกลมยาว มีครีบหลังเป็นแผงยาวกว่าสกุลอื่นที่มีขนาดใกล้เคียงกัน เหนือครีบหูมักมีแต้มเป็นจุดสีดำรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน แต่ปลาซ่าจะมีลายดำเป็นเส้นเล็ก ๆ ประมาณ 7-8 อัน พาดไปตามความยาวของลำตัว และจะมีจุดดำที่โคนหางอีกหนึ่งจุด ในอดีตปลาเหล่านี้มีอยู่อย่างชุกชุม มักจับกลุ่มอยู่รวมกันเป็นฝูง เมื่อปลาซ่าตกใจจะกระโดดขึ้นจากผิวน้ำพร้อม ๆ กัน จะทำให้เกิดเสียงดังซ่า จึงเรียกชื่อเป็น \"ปลาซ่า\"

ถิ่นอาศัย แหล่งที่พบLabiobarbus siamensisชอบอยู่ในแม่น้ำลำคลอง และหนองบึง มีอยู่ทุกภาคของประเทศไทย

อาหารLabiobarbus siamensisส่วนใหญ่ได้แก่ แพลงก์ตอน จำพวกพืช ตะไคร่น้ำและไรน้ำ

ขนาดความยาวลำตัวโดยทั่วไป 12-14 ซ.ม.

รูปภาพ

กำลังโหลดข้อมูล