ชื่อสามัญภาษาไทยMALAYAN BONYTONQUE
ชื่อวิทยาศาสตร์Scleropages formosus
ชื่อไทยอื่นๆ
ลักษณะทั่วไปลักษณะของMALAYAN BONYTONQUE เป็นปลาน้ำจืดที่มีตัวยาวคล้ายใบมีด ด้านข้างแบน เกล็ดใหญ่เรียงเป็นระเบียบอย่างสวยงาม ปากใหญ่ฟันแหลม ครีบหลังและครีบก้นยาวไปจนสุดตอนท้ายใกล้บริเวณครีบหาง มีหนวด 1 คู่อยู่ใต้คางมีรูปร่างคล้ายขนนก ปลาเพศเมียจะทำหน้าที่เพาะฟักไข่และเลี้ยงลูกในวัยอ่อนด้วยปาก ไข่แต่ละฟองมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.7 ซ.ม. นับได้ว่าเป็นปลาที่มีไข่ขนาดใหญ่
ถิ่นอาศัย แหล่งที่พบMALAYAN BONYTONQUEชอบอยู่ในบริเวณที่มีน้ำไหล อย่างเช่นในลำธารทางแถบภาคตะวันออก อันได้แก่ จังหวัดจันทบุรี ตราดและระยอง พบในประเทศไทยครั้งแรกที่จังหวัดตราด ปี พ.ศ. 2474
อาหารMALAYAN BONYTONQUEกินปลา กบ เขียด แมลงและสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า
ขนาดความยาวประมาณ 26-50 ซ.ม.
รูปภาพ