ทศพิธราชธรรม คืออะไร แปลว่าอะไร ตัวอย่างประโยค จากพจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน

ผลการค้นหาคำศัพท์

ทศพิธราชธรรม

พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถานความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน

ทศพิธราชธรรม

  • น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจําพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมืองมี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน - การให้ ๒. ศีล - การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค - ความเสียสละ ๔. อาชชวะ - ความซื่อตรง ๕. มัททวะ - ความอ่อนโยน ๖. ตบะ - การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ - ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา - ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ - ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ - ความไม่คลาดจากธรรม.
ความหมายของ ทศพิธราชธรรม จากพจนานุกรมเล่มอื่นๆ

ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย อ.เปลื้อง ณ นคร

ทศพิธราชธรรม

  • น. ธรรมของพระราชา ๑๐ อย่าง ๑. ทานํ (การให้) ๒. สีลํ (การรักษาศีล) ๓. ปริจฺจาคํ (การเสียสละ) ๔. อาชฺชวํ (ความซื่อตรง) ๕. มทฺทวํ (ความอ่อนโยน) ๖. ตปํ (ความเพียร) ๗. อกฺโกธํ (ความไม่โกรธ) ๘. อวิหิํสา (ความไม่เบียดเบียน) ๙. ขนฺติ (ความอดทน) ๑๐. อวิโรธนํ (ความ
(อ่านต่อ...)
กำลังโหลดข้อมูล