ศิลปศาสตร์ คืออะไร แปลว่าอะไร ตัวอย่างประโยค จากพจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน

ผลการค้นหาคำศัพท์

ศิลปศาสตร์

พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถานความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน

ศิลปศาสตร์

  • น. วิชาต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่วิชาทางเทคนิค หรือทางอาชีพ เช่น ภาษาศาสตร์ ปรัชญา ประวัติศาสตร์
  • ตำราว่าด้วยวิชาความรู้ต่าง ๆ ในสมัยก่อนพุทธกาล มี ๑๘ ประการ ได้แก่เ๑. สูติ วิชาฟังสียงคนเสียงสัตว์รู้ว่าดีหรือร้าย ๒. สัมมติ วิชาเข้าใจในกฎธรรมเนียม ๓. สังขยา วิชาคำนวณ ๔. โยคยันตร์วิชาการช่าง ๕. นีติ วิชาแบบแผนราชการ ๖. วิเสสิกา วิชาการค้า๗. คันธัพพา วิชานาฏศิลป์ ๘. คณิกาวิชากายบริหาร ๙.ธนุพเพธาวิชายิงธนู ๑๐. ปุราณา วิชาโบราณคดี ๑๑. ติกิจฉา วิชาการแพทย์๑๒. อิติหาสา วิชาตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓. โชติ วิชาดาราศาสตร์ ๑๔. มายา วิชาตำราพิชัยสงคราม ๑๕. ฉันทสาวิชาการประพันธ์ ๑๖. เกตุ วิชาพูด ๑๗. มันตา วิชาร่ายมนตร์๑๘. สัททา วิชาไวยากรณ์.
ความหมายของ ศิลปศาสตร์ จากพจนานุกรมเล่มอื่นๆ

ความหมายจาก พจนานุกรมแปล ไทย-ไทย อ.เปลื้อง ณ นคร

ศิลปศาสตร์

  • น. วิชาความรู้ต่างๆ ตามคติโบราณ มี ๑๘ ประการ คือ ๑. สูติ (ความรู้ทั่วไป) ๒. สัมมติ (ความรู้กฎธรรมเนียม) ๓. สังขยา (การคำนวณ) ๔. โยค (การช่างยนต์) ๕. นิติ (รู้แบบนิติศาสตร์) ๖. วิเสสิกา (รู้พยากรณ์ ความรู้การอันให้เกิดมงคล) ๗. คันธัพพา (การร้องรำและดนตรี)
(อ่านต่อ...)
กำลังโหลดข้อมูล