7 พฤติกรรมทำร้าย “ไต” ทั้งที่ไม่ได้กินเค็มก็เป็นโรคไตได้
โรคไต หลายคนคงคิดออกตั้งแต่ครั้งแรกที่ได้ยินว่า เพราะทานเค็มมากเกินไป แต่จะมาบอกว่า ไม่ใช่อาหารรสเค็มเท่านั้นที่เป็นสาเหตุของโรคไต คุณอาจยังไม่ทราบ และเผลอทำร้ายไตของตัวเองไปโดยไม่รู้ตัว
แท็ก
โรคไต หลายคนคงคิดออกตั้งแต่ครั้งแรกที่ได้ยินว่า เพราะทานเค็มมากเกินไป แต่จะมาบอกว่า ไม่ใช่อาหารรสเค็มเท่านั้นที่เป็นสาเหตุของโรคไต คุณอาจยังไม่ทราบ และเผลอทำร้ายไตของตัวเองไปโดยไม่รู้ตัว
นอกจากกินเค็มแล้ว ยังมีอีกหลายเหตุผลที่เพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคไต
นอกจากกินเค็มแล้ว ยังมีอีกหลายปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงโรคไต
โรคไต ห้ามกินอะไรบ้าง ยังมีอีกอาหารอีกมากมาย ที่คนที่เสี่ยงเป็นโรคไตไม่ควรทาน อาหารอะไรบ้างที่มีโพแทสเซียมสูงที่คุณควรเลี่ยง
ถ้าคิดว่ากินเค็มจะเป็นแค่โรคไตล่ะก็ คิดผิดแล้ว
กินเค็ม ไม่ได้เสี่ยงแค่โรคไต แต่อาจไปถึงขั้น “โซเดียมในเลือดสูง” ที่เป็นอันตรายต่อร่างกายมากไม่แพ้กัน
แค่ลดกินเค็ม กินเกลือไม่เกิน 1 ช้อนชาต่อวัน ก็ช่วยลดเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดได้แล้ว
ลองเช็กดูว่าคุณกำลังติดเค็มอยู่หรือเปล่า
ลดเค็ม ลดโรค แต่ถ้ารสชาติยังเป็นส่วนสำคัญ ลองดูเคล็ดลับเหล่านี้
ปัญหาโรคไตในไทย ไม่ได้เบาไปกว่าปัญหาฝุ่น PM 2.5 หรือไวรัสโควิด-19 เลยนะ
บอกให้ลดเค็มๆ แต่ต้องเค็มมากน้อยเท่าไหนถึงจะปลอดภัยกันนะ
รู้หรือไม่ว่าอาหารจานโปรดที่หลายคนชื่นชอบ กินกันเป็นประจำทุกวัน มันมีปริมาณโซเดียมที่สูงเท่าไหร่ มีผลร้ายต่อสุขภาพแค่ไหน
ติดเค็ม เสี่ยงโรคได้อย่างไร ลองอ่านจากประสบการณ์ตรงของคุณผัดไทย นักแสดงชื่อดัง ผู้ป่วยโรคไตอักเสบเฉียบพลันในวัย 27 ปีกัน
ทำไมรสเค็มถึงทำร้ายร่างกายเราได้ มาดูคำอธิบายได้
ถ้าใครยังไม่แน่ใจว่าตัวเองเป็นสายโซเดียมหรือเปล่า ลองเช็กตามนี้ดูได้เลย
โรคน้ำในหูไม่เท่ากัน ทำให้เวียนศีรษะแบบบ้านหมุน หูอื้อไม่ค่อยได้ยิน แต่ใครจะรู้บ้างว่าการกินเค็มให้น้อยลง ช่วยลดอาการของโรคนี้ได้
กินอาหารที่มีโซเดียมมาก เสี่ยงเส้นเลือดหัวใจตีบ เส้นเลือดสมองแตก และไตวาย
ไม่ใช่แค่เกลือ และน้ำปลา แต่ยังมีอาหารอื่นๆ ที่ทำให้ร่างกายเสี่ยงต่อโรคไต
แม้ว่าโซเดียมจะมีประโยชน์ แต่หากกินมาเกินไปโซเดียมก็จะทำลายร่างกายได้เช่นเดียวกัน
การบริโภคเกลือหรือโซเดียมปริมาณมาก เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคเบาหวาน โรคหัวใจ และโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต