วิธีปฏิบัติเมื่อต้องเป็นผู้นำในทีมที่มีหลากหลายเจเนอเรชัน

วิธีปฏิบัติเมื่อต้องเป็นผู้นำในทีมที่มีหลากหลายเจเนอเรชัน

วิธีปฏิบัติเมื่อต้องเป็นผู้นำในทีมที่มีหลากหลายเจเนอเรชัน
แชร์เรื่องนี้
แชร์เรื่องนี้LineTwitterFacebook

ทุกวันนี้ในสถานที่ทำงาน ไม่ได้มีคนเพียงเจเนอเรชันเดี ยว หากแต่เป็นการคละกันระหว่ างเจเนอเรชันไปแล้ว ตั้งแต่ Baby Bommer, เจเนอเรชัน X, เจเนอเรชัน Y และยังมีเจเนอเรชัน Z เข้ามาร่วมวงด้วย ทำให้การทำงานทุกวันนี้ หลายออฟฟิศมีความขัดแย้ งเพราะความคิดเห็นที่แตกต่างกั น เนื่องจากเติบโตมาในสภาพสิ่งแวดล้อมที่ต่ างกัน คนที่เหนื่อยที่สุดเห็นจะเป็นหั วหน้างาน หรือเจ้าของกิจการที่ต้องคอยดูแลหรือบริหารให้พนักงานอยู่ ในกรอบของการทำงานที่ต้องการ ซึ่งจะมีวิธีการเช่นใดนั้นมาติ ดตามกัน

ทำความเข้าใจว่า แต่ละเจเนอเรชันนั้น มีลักษณะเฉพาะตัวอะไรบ้าง

1. Silent Generation เกิดระหว่างปี 1925-1945 

คนรุ่นนี้อายุน้อยที่สุดอยู่ที่ ประมาณ 57 ปี เป็นคนรุ่นที่สามารถเข้ากันได้ กับคนทุกเจเนอเรชัน แต่ไม่ชอบความเปลี่ยนแปลง

2. Generaion X เกิดระหว่างปี 1965-1980

คนรุ่นนี้อายุน้อยที่สุดคือ 41 ปี เป็นกลุ่มที่รักเสรีและชอบความสันโดษ

3. Millennials เกิดระหว่างปี 1981-2000

คนรุ่นนี้อายุน้อยที่สุดคือ 21 ปี เป็นกลุ่มคนที่ชอบขับเคลื่อนสั งคม และรักษาสิทธิของตนเอง

4. Generation Z เกิดระหว่างปี 2001-2020

คนรุ่นนี้เริ่มเข้าสู่ การทำงานแล้ว เพราะกลุ่มหัวที่อยู่ในวัย 20 ปี เป็นกลุ่มคนที่ต้องการก้าวไปข้ างหน้า และไม่เชื่อเรื่องความภักดีต่ อองค์กร

ปรับทัศนคติของแต่ละเจเนอเรชันด้วยการมอบหมายความรับชอบที่เหมาะสม
ถ้าพิจารณาให้ละเอียด จะพบว่าแต่ ละเจเนอเรชันนั้นจะมีทัศนคติหรือค่านิยมทางความคิดเป็นของตนเอง เมื่อจะทำให้ทุกเจเนอเรชันทำงานร่วมกันให้ได้ ก็จำเป็นอย่ างยิ่งที่ต้องพิสูจน์ให้เห็นว่ าความเชื่อของคนแต่ละรุ่นนั้นมี จุดอ่อนจุดแข็งอย่างไร เป็นการทำความเข้าใจอย่างถ่ องแท้ว่า แต่ละเจเนอเรชันนั้นต่างเติ บโตในสภาวการณ์และห้วงเวลาที่แตกต่างกัน

ดังนั้น วิธีคิดหรือทัศนคติของคนแต่ละรุ่ นย่อมไม่เหมือนกัน เมื่อต้องทำงานร่วมกันกั บคนในหลายเจเนอเรชัน คนเป็นหัวหน้างานควรเข้าใจพนั กงานโดยไม่อิงอคติ จากนั้นมอบหมายงานที่เหมาะสมกั บพวกเขา และพยายามที่จะพูดคุยกันเพื่ อทำลายกำแพงของความแตกต่างให้ ได้มากที่สุด

การสื่อสารสำคัญต่อคนในทุกเจเนอเรชัน และถ้าคุณเป็นหัวหน้าก็ควรเปิ ดรับความคิดเห็นของทุกคน
จากข้อแรกของการทำความเข้าใจทั ศนคติ วิธีคิด และการเติบโตที่แตกต่างกัน สิ่งที่ควรทำต่อมาคือการสื่ อสารอย่างเปิดเผยต่อคนในทุ กเจเนอเรชัน แต่ไม่ได้หมายความว่าคุ ณในฐานะหัวหน้างานจะต้องเห็นด้ วยไปเสียทุกเรื่อง เรื่องที่คุณไม่เห็นด้วยก็ สามารถนำมาถกเถียงกันได้ เพียงแต่ต้องใช้เหตุผลประกอบไม่ ตัดสินด้วยอารมณ์

ไม่ก้าวล่วงและให้ ความเคารพในสิทธิและความเป็นมนุ ษย์ที่มีเท่ากัน
หลายครั้งที่สังคมออฟฟิศ ทำให้พนักงานหลายคนอึดอั ดใจเพราะรู้สึกว่าตนเองถูกใช้ตลอดเวลา ด้วยความแตกต่ างเรื่องเพศและวัย ถ้าคุณเป็นหัวหน้างานและต้องดู แลพนักงานเพื่อให้ทำงานให้อย่ างเต็มที่ ควรจะต้องตระหนักเรื่ องนี้ให้มาก หากคุณเป็นผู้ชายและมีลูกน้ องเป็นผู้หญิง และมองว่าผู้หญิงไม่สามารถทำงานที่ท้าทายได้ และเก็บพวกเธอเอาไว้เพื่ อทำงานเอกสาร แบบนี้จะสร้างความรู้สึกแบ่ งแยกขึ้นมา

เช่นเดียวกับหัวหน้าผู้หญิงที่ใช้ลูกน้องผู้ชายทำงานหนักอยู่ คนเดียว และไม่ได้แบ่งงานให้เท่ากันกับลู กน้องผู้หญิง ความรู้สึกแบ่งแยกย่อมเกิดขึ้ นได้ รวมไปถึงการให้ทีมงานที่เด็กที่ สุดในทีมไปชงกาแฟ ซื้อเครื่องดื่มให้ ก็เป็นเรื่องที่ไม่ควรเป็นอย่ างยิ่ง

การเคารพในสิทธิที่มนุษย์ทุ กคนพึงมีนั้นเป็นสิ่งสำคัญอย่ างยิ่ง เพราะจะทำให้ทั้งคนที่อายุ มากและอายุน้อยอยู่ด้วยกันด้ วยทัศนคติเป็นเพื่อนร่วมงาน ไม่ใช่การลำดับอาวุโสในที่ทำงาน

อย่าเล่นเกมคนโปรด เพื่อทำให้ทีมงานรู้สึ กอยากทำงานมากขึ้น
มีหัวหน้างานจำนวนมากที่จะทำท่ าโปรดปรานพนักงานคนใดคนหนึ่งเป็นพิเศษ เพื่ อให้ทีมงานรู้สึกอิจฉาและพากันขยันขันแข็งในการทำงาน ถามว่าวิธีนี้ช่วยให้ได้ งานมากขึ้นกว่าเดิมไหม คำตอบคือ ได้ในระยะเวลาหนึ่ง หลังจากนั้ นปัญหาจะตามมาเป็นพรวน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสัมพันธ์ ภายในทีม ที่ต่างคนต่างแข็งขันกันไม่มี ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

เหนืออื่นใดคนในแต่ละเจเนอเรชันต่างก็มีทัศนคติต่อวิธีการดั งกล่าวแตกต่างกันไป บางเจเนอเรชันที่รับไม่ได้ สามารถลาออกได้ทันที ดังนั้น ถ้าคุณจะเป็นหัวหน้างาน การดูแลลูกน้องให้เท่าเทียมกันและทำให้ทีมเป็นหนึ่งเดียว ดีกว่ าแข่งขันกันภายใน จะทำให้ ระยะยาวคุณได้ทีมงานที่สร้ างงานได้อย่างมีประสิทธิ ภาพมากกว่า

แชร์เรื่องนี้
แชร์เรื่องนี้LineTwitterFacebook