วางแผน "ออมเงิน" ด้วยการคำนวณบำนาญผ่านแอปฯ กอช.
วิธีคำนวณเงินบำนาญ ผ่านแอปพลิเคชั่น กอช. เพื่อวางแผนออมเงิน
แท็ก
วิธีคำนวณเงินบำนาญ ผ่านแอปพลิเคชั่น กอช. เพื่อวางแผนออมเงิน
การลดค่าใช้จ่ายต่างๆ ของเราในแต่ละเดือนลงเพื่อที่เราจะได้มีเงินเก็บมากขึ้น วันนี้เรามี 8 ค่าใช้จ่ายที่ควรควบคุม มาฝากกัน
หากคุณอายุ 55 หรือ 60 ปี มันอาจจะถึงเวลาสิ้นสุดการทำงานของคุณแล้ว แต่คุณเตรียมตัวในการเกษียณอายุอย่างไร? ลองดูที่ตัวบ่งชี้ที่คุณอาจไม่ได้คาดคิดต่อไปนี้ และหลังจากทบทวนตัวบ่งชี้เหล่านี้แล้ว หากคุณไม่มีความกังวลใด ๆ คุณอาจจะมุ่งหน้าวางแผนเกษียณอายุได้เลย
ถึงจะบอกตัวเองเป็นล้านครั้งว่าการซื้อบ้าน ไม่เหมือนการซื้อเสื้อผ้า หรือ กระเป๋าที่หากไม่ถูกใจ ที่อยู่ไปสักพักแล้วรู้สึกไม่ชอบก็แค่ทิ้งไว้ หรือ ทำใจยกให้คนอื่นได้ง่ายๆ ฉะนั้นก่อนคิดจะเซย์เยสกับบ้านซักหลัง ต้องมั่นใจแล้วว่าคิดถี่ถ้วนแล้วจริงๆ !
ในช่วงชีวิตของวัยที่กำลังสร้างเนื้อสร้างตัว ทุกวินาที มีค่าเสมอ ไม่เว้นแม้แต่ตอนที่คุณกำลังนอนหลับ เชื่อไหมว่า คุณเองก็สามารถหาเงินได้แม้แต่ตอนที่คุณกำลังนอนหลับพักผ่อน...!!
เราเริ่มต้นคิดเรื่องของการวางแผนเกษียณสำหรับตัวเองอย่างจริงจังแล้วหรือยัง ถ้ามี เราคิดว่ามันเพียงพอหรือไม่ นี่ต่างหากที่เราจะต้องหยิบยกมาคิด..?
ในอดีตหลายคนเก็บเงินไว้ที่ฝากประจำ ออมทอง กองทุนรวม หุ้น ประกันชีวิต สินทรัพย์ให้เช่า ฯลฯ บางคนมีหลายที่เยอะมากจนจำไม่ได้ว่าตนเองมีอะไรบ้าง ตอนนี้มีเงินก้อนใหม่เข้ามาก็อยากจะทำให้เติบโต แต่ยังไม่รู้จะเอาไปทำอะไรดี ลองอ่านแนวทางนี้ไปปรับใช้นะจ๊ะ
แต่สิ่งหนึ่งที่เราจะลืมไม่ได้เลยก็คือ การลงทุนนั้นเราจะต้องศึกษาให้ดีและต้องเริ่มต้นตั้งแต่อายุยังน้อยนะครับ เพราะเราสามารถนำเงินออมที่สะสมมาใช้ได้มากกว่าตอนอายุเยอะ...!!
ถ้าสามารถแปลงค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยตรงนี้มาเป็นเงินลงทุน เพื่อสร้างความมั่งคั่งให้กับเราในอนาคต ซึ่งจะมีวิธีการอย่างไร แล้วต้องลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยลงเท่าไรถึงจะนำเงินมาลงทุนได้..?
การใช้จ่ายเงินจึงกลายเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของเราไปแล้วแต่วันนี้จะพาคุณผู้อ่านไปดูคู่มือในการเปลี่ยนแปลงไลฟ์สไตล์ เพื่อให้มีเงินเก็บสำรองฉุกเฉินกันดีกว่าค่ะ
“กดเอทีเอ็มสัปดาห์ละหน ไม่พาตนไปในที่เสียตังค์ และยับยั้งชั่งใจซื้อเฉพาะของที่ลิสต์ไว้เท่านั้น จะช่วยให้เรามีเงินเก็บ มากขึ้น”
วันนี้ขอนำเสนอ 6 ข้อเสียของการไม่วางแผนทางการเงิน เพื่อให้ทุกท่านรู้จักระมัดระวังในเรื่องของการใช้จ่ายและรีบปรับปรุงพฤติกรรมการใช้จ่ายได้อย่างทันท่วงที มาติดตามกันครับ
การเริ่มลงทุนตั้งแต่อายุยังน้อยนั้นจะทำให้การวางแผนต่อการเกษียณของเรานั้นเป็นไปง่ายมากขึ้น เริ่มลองผิดลองถูกกับการลงทุนดีกว่าไปเรียนรู้ความผิดพลาดเมื่อตอนใกล้เกษียณครับ
การเก็บเงินรักษาเงินนั้น เป็นทักษะที่ต้องฝึก เป็นข้อบกพร่องที่ต้องแก้ไข โดยทั่วไปคนเรามีข้อผิดพลาดเรื่องการไม่สามารถรักษาเงินไว้ได้ ดังนี้.......
หากเราเองเป็นอีกหนึ่งคนที่เริ่มรู้สึกแย่กับเทคนิคสร้างความมั่นคงให้กับชีวิตที่มีอยู่มากมายในโลกออนไลน์ ลองใช้เทคนิคแบ่งเงินเป็น 6 ส่วนดูสิ ..เทคนิคเงิน 6 ส่วน จะช่วยให้เรารู้สึกว่าการจัดสรรเงินเพื่อความมั่นคงของชีวิต เป็นอะไรที่ง่ายอย่างมากเลยล่ะ
การขอสินเชื่อนั้นไม่ยาก แต่การควบคุมตัวเองให้ชำระหนี้ให้หมดนั้นเป็นเรื่องที่ไม่ง่าย ดังนั้นหากจะเข้าไปขอสินเชื่อก้อนแรกแล้ว ก็ขอให้ทำด้วยความมีสติรอบคอบ และ ทำให้สินเชื่อเกิดประโยชน์สูงสุดตามต้องการ
เชื่อว่าเราส่วนใหญ่มักใช้จ่ายเงินกันแบบลืมคิดว่าสิ่งของที่เราซื้อเหล่านั้นมันคุ้มค่าหรือไม่? หรือซื้อมามันจะได้ใช้ไหม? ซึ่งบางทีหากเรามาใส่ใจเรื่องเงินเล็ก ๆ น้อย ๆ พวกนี้บ้าง เราอาจจะมีเงินเก็บไปนานแล้วก็ได้
เงินเก็บหรือเงินออม เป็นเงินสำรองยามฉุกเฉินที่จะช่วยให้เรารอดพ้นจากวิกฤตต่างๆได้เป็นอย่างดี แล้วเราต้องเก็บเงินมากขนาดไหนล่ะถึงจะเรียกว่ามีความปลอดภัย มนุษย์เงินเดือนควรมีเท่าไร ฟรีแลนซ์ควรมีเท่าไร...? มาดูกัน
เชื่อว่าเราส่วนใหญ่มักใช้จ่ายเงินกันแบบลืมคิดว่าสิ่งของที่เราซื้อเหล่านั้นมันคุ้มค่าหรือไม่? หรือซื้อมามันจะได้ใช้ไหม? ซึ่งบางทีหากเรามาใส่ใจเรื่องเงินเล็ก ๆ น้อย ๆ พวกนี้บ้าง เราอาจจะมีเงินเก็บไปนานแล้วก็ได้
อยากมีเงินเหลือจ่าย ต้องคุมรายจ่ายที่ไม่จำเป็นให้อยู่หมัด วันนี้มีคำแนะนำ 7 รายจ่ายที่ควรคุมให้อยู่มาฝากกันครับ...