สะพรึง นักวิทย์ฯ จีนค้นพบ แกนโลกหยุดเคลื่อนไหว-เปลี่ยนทิศหมุน สดร.ชี้ เป็นเรื่องปกติ
สะพรึง นักวิทย์ฯ จีนค้นพบ แกนโลกหยุดเคลื่อนไหว-เปลี่ยนทิศหมุน นักวิชาการดาราศาสตร์ สดร.ชี้ “แกนโลกหมุนช้า เป็นวัฏจักรปกติ”
แท็ก
สะพรึง นักวิทย์ฯ จีนค้นพบ แกนโลกหยุดเคลื่อนไหว-เปลี่ยนทิศหมุน นักวิชาการดาราศาสตร์ สดร.ชี้ “แกนโลกหมุนช้า เป็นวัฏจักรปกติ”
ทีมนักดาราศาสตร์ค้นพบโมเลกุลของฟอสฟีน ซึ่งอาจจะบ่งชี้ถึงความเป็นไปได้ที่อาจจะเกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. NARIT เก็บภาพดาวหางนีโอไวส์ ในค่ำคืนที่โคจรมาใกล้โลกที่สุดมาฝากกัน
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. NARIT เผยเคล็ดลับ 7 ข้อตามล่าดาวหางนีโอไวส์ ที่จะเข้าใกล้โลกมากที่สุดในค่ำวันนี้ (23 ก.ค.)
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) หรือ NARIT เผยภาพดาวหางนีโอไวส์ หรือ C/2020 F3 (NEOWISE) ที่ปรากฏให้เห็นในช่วงหัวค่ำของเมื่อวานนี้ (22 ก.ค.) ขณะที่วันนี้ (23 ก.ค.) ยังมีโอกาสมองเห็นเพราะเป็นวันที่เข้าใกล้โลกมากที่สุด สังเกตได้ตั้งแต่หลังพระอาทิตย์ตกไปจนถึงสามทุ่ม
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) หรือ NARIT เผยภาพปรากฏการณ์สุริยุปราคาเหนือฟ้าเมืองไทย ช่วงบ่ายวานนี้ (21 มิถุนายน 2563) มีชาวไทยให้ความสนใจติดตามปรากฏการณ์กันทั่วประเทศ โซเชียลมีเดียทุกช่องทางคึกคัก แชร์ภาพกันสนั่น
สดร. ชี้สุริยุปราคาเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่อธิบายได้ด้วยหลักการทางวิทยาศาสตร์ สามารถคำนวณล่วงหน้าได้หลายพันปี ยืนยันไม่มีผลกระทบต่อมนุษย์
แห่ชม #สุริยุปราคา เหนือท้องฟ้าเมืองไทย ปรากฏการณ์ดวงอาทิตย์ส่งท้ายปี แฮชแท็กขึ้นเทรนด์ทวิตเตอร์
ชวนคนไทยชม สุริยุปราคา 26 ธันวาคม สดร. ย้ำเตือนดูผิดวิธีเสี่ยงตาบอดถาวร
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ชวนจับตาปรากฏการณ์ดาวเคียงเดือน ช่วงค่ำวันที่ 28 - 30 พ.ย. 62
สดร.เผยดวงอาทิตย์ตั้งฉากกับพื้นที่จังหวัดต่าง ๆ ของไทย ช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม เริ่มจากทางใต้สุดของประเทศจากนั้นจะไล่ขึ้นเหนือเรื่อยๆ
ชวนชม “ฝนดาวตกลีโอนิดส์ – ราชาแห่งฝนดาวตก” หลังเที่ยงคืนวันที่ 17 พ.ย. 61 เวลาประมาณตี 2 เป็นต้นไป จนถึงรุ่งเช้าวันที่ 18 พ.ย. 61 อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ย 10-15 ดวงต่อชั่วโมง
คืนวันนี้ คนไทยได้ดูฝนดาวตกครั้งใหญ่จากกลุ่มดาวโอไรโอนิดส์ ตกชั่วโมงละ 100-500 ดวง จากกลุ่มดาวสิงโตแน่ๆ เพราะเป็นคืนเดือนมืด