Black Lives Matter เตรียมเข้าชิงรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ 2021
ขบวนการ Black Lives Matter ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ ประจำปี 2021 จากกรณีการประท้วงเรียกร้องความยุติธรรมทางเชื้อชาติที่เกิดขึ้นทั่วโลก
แท็ก
ขบวนการ Black Lives Matter ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ ประจำปี 2021 จากกรณีการประท้วงเรียกร้องความยุติธรรมทางเชื้อชาติที่เกิดขึ้นทั่วโลก
กระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิของสหรัฐฯ ประกาศภารกิจใหม่ มุ่งป้องกัน “อนุสาวรีย์ อนุสรณ์ และรูปปั้นอเมริกัน” หลังผู้ประท้วงไล่รื้อทำลาย
อนาคตไล่ล่า! ชาวเบลเยียม โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ แห่กำจัดมรดกประวัติศาสตร์อันโหดเหี้ยมของอดีตผู้ปกครอง ที่เกี่ยวข้องกับการล่าอาณานิคมและการค้าทาส
ขณะที่คนอเมริกันในปัจจุบันที่ลุกขึ้นมาเรียกร้อง Black Lives Matter ต้องการให้รื้อถอนอนุสาวรีย์เพื่อเปลี่ยนแปลงความเชื่อและความเข้าใจอดีตของประเทศ แต่สิ่งที่สำคัญก็คือ “สงครามกลางเมือง” ไม่ใช่สงครามเดียวในสหรัฐฯ ที่มี “ทาส” เป็นองค์ประกอบสำคัญ
ผู้คนทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ ทุกสีผิวออกมาเดินขบวนเรียกร้องให้เกิดความเปลี่ยนแปลงด้านทัศนคติเรื่องสีผิวที่เป็นปัญหาฝังรากลึกในหลายประเทศ เช่นเดียวกับ “กลุ่มนักอบขนม” ในสหรัฐฯ ที่ใช้ตะกร้อมือเป็นอาวุธ และเดินเข้าครัวด้วยวัตถุประสงค์เดียวกัน นั่นคือ “ต่อสู้กับการเหยียดสีผิว”
"Karen" ถูกนำมาใช้เพื่อเรียกคนที่มีพฤติกรรมเหยียดสีผิว เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง และชอบบงการ ซึ่งกลายเป็นชื่อยอดนิยมในโลกออนไลน์ หลังการประท้วง Black Lives Matter ในสหรัฐอเมริกา เพื่อเรียกคนที่แสดงพฤติกรรมเหยียดสีผิว และถูกบันทึกวิดีโอเป็นหลักฐาน
การเสียชีวิตของ “จอร์จ ฟลอยด์” จุดชนวนการประท้วงต่อต้านการใช้ความรุนแรงของเจ้าหน้าที่ตำรวจต่อคนผิวดำที่ลุกลามไปทั่วสหรัฐอเมริกา ยิ่งไปกว่านั้น การเสียชีวิตของฟลอยด์ยังได้สะท้อนภาพความไม่เท่าเทียมทางสุขภาพของสหรัฐฯ อีกด้วย
Zozibini Tunzi มิสยูนิเวิร์ส 2020 วัย 26 ปี จากประเทศแอฟริกาใต้ ออกมาสนับสนุนการประท้วง Black Lives Matter ในสหรัฐอเมริกาและอีกหลายประเทศทั่วโลก เพื่อเรียกร้องความยุติธรรมให้คนผิวดำและต่อต้านการใช้ความรุนแรงของเจ้าหน้าที่ตำรวจต่อคนผิวดำ
เหตุฆาตกรรม Riah Milton และ Dominique “Rem’ Mie” Fells ผู้หญิงข้ามเพศผิวดำ 2 คนในสหรัฐฯ ซึ่งนำไปสู่การเรียกร้องให้ยุติการใช้ความรุนแรงต่อกลุ่ม LGBTQ+ และเกิดเป็น #BlackTransLivesMatter ในทวิตเตอร์
โดนัลด์ ทรัมป์ ลั่น จะไม่ดูถ่ายทอดการแข่งขันอเมริกันฟุตบอล NFL อีก หากว่าผู้เล่นยังคุกเข่าประท้วง ไม่ยอมยืนตรงขณะเพลงชาติบรรเลง
วิธีการควบคุมผู้ชุมนุมในสหรัฐฯ ด้วยการใช้แก๊สน้ำตาถูกวิพากษ์วิจารณ์ถึงความเหมาะสมที่จะนำมาใช้ในช่วงการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ขณะเดียวกันก็มีเสียงเรียกร้องจากหลายฝ่ายให้เจ้าหน้าที่ตำรวจหยุดใช้อาวุธเคมีเหล่านี้ เพราะมันสามารถแพร่กระจายเชื้อไวรัสโคโรนา และก่อให้เกิดโรคโควิด-19 ได้
5 การเปลี่ยนแปลงในสหรัฐฯ จากเหตุประท้วงต่อต้านการเหยียดผิว หลังจากเสียชีวิตของ “จอร์จ ฟลอยด์”
องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ออกแถลงการณ์เกี่ยวกับการชุมนุมประท้วงเพื่อต่อต้านการใช้ความรุนแรงของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และการปฏิบัติที่ไม่เท่าเทียมอันมีสาเหตุมาจากความแตกต่างเรื่องสีผิว โดยแสดงความกังวลเรื่องการระบาดของโรคโควิด-19 ในช่วงการชุมนุมประท้วงที่เกิดขึ้น
การเขียนข้อความลงบนถนน ถือเป็นการประท้วงอีกรูปแบบหนึ่งที่กำลังเป็นที่นิยมในหลายเมืองทั่วสหรัฐฯ ซึ่งมีสาเหตุมาจากกรณีของ “จอร์จ ฟลอยด์” ชายผิวดำ ในเมืองมินนิอาโปลิส ที่ถูกตำรวจใช้หัวเข่าทับบนลำคอจนขาดอากาศหายใจ และเสียชีวิต
“ไมเคิล บี. จอร์แดน” นักแสดงจากภาพยนตร์ “Black Panther” ร่วมประท้วงต่อต้านการเหยียดผิว เรียกร้องให้สตูดิโอจ้างงานคนผิวดำ
“โคลิน เคเปอร์นิค” อดีตผู้เล่นทีม San Francisco 49ers เปิดตัวกองทุนช่วยเหลือทางกฎหมาย สำหรับช่วยผู้ประท้วงกรณี “จอร์จ ฟลอยด์” ที่ถูกจับกุม
กลุ่มผู้ชุมนุมมากกว่า 100 คน มารวมตัวกันหน้าสโตนวอลล์ อินน์ ในกรุงนิวยอร์ก เมื่อวันอังคาร ที่ 2 มิถุนายน ที่ผ่านมา และตะโกนร้องชื่อ “โทนี แมคเดด” ชายผิวดำอีกคนหนึ่งที่เสียชีวิตด้วยน้ำมือของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ในช่วงเวลาของการขับเคลื่อนขบวนการ Black Lives Matter
ปธน.โดนัลด์ ทรัมป์ เดือด หลัง NFL อนุญาตให้นักกีฬาคุกเข่าระหว่างเพลงชาติได้
วิดีโอที่แสดงให้เห็นพฤติกรรมการใช้ความรุนแรงของเจ้าหน้าที่ตำรวจถูกส่งต่ออย่างแพร่หลายบนโลกอินเตอร์เน็ต ชี้ให้เห็นว่า พฤติกรรมการใช้ความรุนแรงของตำรวจไม่ใช่ปัญหาของปัจเจกบุคคล แต่เป็นปัญหาที่กระจายอยู่ในกรมตำรวจทั่วสหรัฐอเมริกา
การเสียชีวิตของจอร์จ ฟลอยด์ ก่อให้เกิดกระแสตื่นตัวเรื่องการเหยียดเชื้อชาติ นำไปสู่การรื้อถอนหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่สนับสนุนการค้าทาสผิวดำทั่วโลก