#สมรสเท่าเทียม สนั่นทวิตเตอร์ ชาวเน็ตแห่จวก ส.ส. รัฐบาลจ้องกีดกันสิทธิ
แฮชแท็ก #สมรสเท่าเทียม ขึ้นอันดับความนิยมในเว็บไซต์ทวิตเตอร์อีกครั้ง ชาวเน็ตแห่วิจารณ์ ส.ส. รัฐบาลจ้องกีดกันสิทธิกลุ่มคนเพศหลากหลาย
แท็ก
แฮชแท็ก #สมรสเท่าเทียม ขึ้นอันดับความนิยมในเว็บไซต์ทวิตเตอร์อีกครั้ง ชาวเน็ตแห่วิจารณ์ ส.ส. รัฐบาลจ้องกีดกันสิทธิกลุ่มคนเพศหลากหลาย
นักกิจกรรมเพื่อกลุ่มคนเพศหลากหลาย LGBTQ+ เตรียมจัด #ไพรด์4ภาค ที่พัทยา หาดใหญ่่ ขอนแก่น และเชียงใหม่
สรุปคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญจากฉบับเต็ม ปมกฎหมายสมรสในปัจจุบันที่จำกัดให้แค่ชายและหญิง ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ
ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงแนะผู้ปกครองเลิกเปลี่ยนลูก LGBTQ+ รับสั่งเขาเปลี่ยนไม่ได้ เขาเกิดมาเป็นอย่างนั้น แล้วเป็นสิ่งที่ดี ทรงจวกคนเหยียดเพศเป็นคนล้าหลัง-ไม่อินเทรนด์
โซเชียลจวกเละ 3 ยูทูบเบอร์ปมเหยียดเพศ หลังกล่าว "การที่ผู้ชายมาแต่งเป็นผู้หญิงมันก็ไม่ได้อยู่ดี" แม้ดูเหมือนสังคมรับกลุ่ม LGBTQ+
เจ.เค. โรว์ลิง นักเขียนชื่อดังประกาศคืนรางวัลด้านสิทธิมนุษยชน โอดถูกบีบให้ต้องรับผิดชอบหลังแสดงความคิดเห็นเรื่องคนข้ามเพศ
แม้จะมีกฎหมายรับรองการเป็นคู่ชีวิตแล้ว แต่ล่าสุด ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศผ่านร่างกฎหมายการแต่งงานสำหรับทุกคน ซึ่งได้รับการสนับสนุนอย่างมากในประเทศ
กลุ่ม LGBTQ+ ในประเทศเมียนมาใช้ภาษา ที่เรียกว่า “Bansaka” เพื่อสื่อสารกันภายในกลุ่ม เช่นเดียวกับกลุ่ม LGBTQ+ อื่น ๆ ที่มักจะสร้าง “ภาษาลับ” ของตัวเองขึ้นมาเพื่อความปลอดภัย ปกปิดอัตลักษณ์และใช้พูดคุยเรื่องส่วนตัวของกันและกัน
ทวีตเจ้าปัญหาของ เจ.เค โรว์ลิ่ง เจ้าของผลงานวรรณกรรม "แฮร์รี พอตเตอร์" จุดชนวนความขัดแย้งบนโลกออนไลน์กับกลุ่ม LGBTQ+ และแฟนคลับของเธออีกครั้ง และตอกย้ำข้อกล่าวหาว่าโรว์ลิ่งเป็น TERF ให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
สำหรับนักศึกษา LGBTQ+ บางคนแล้ว การเรียนออนไลน์ในช่วงโควิด-19 เป็นมากกว่าการเรียนผ่าน Zoom แต่หมายถึงการปกปิดเพศวิถีและอัตลักษณ์ทางเพศของพวกเขาเอง
จากเหตุการณ์ Stonewall Riots สู่การต่อสู้เพื่อเปลี่ยนแปลงสิทธิและเสรีภาพของกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ+) เกิดเป็น Pride Month ที่เฉลิมฉลองและแสดงจุดยืนของ LGBTQ+ ทั่วโลก
เยอรมนีให้สิทธิ์ประชาชนระบุว่าตัวเองเป็นเพศหลากหลาย หากไม่อยากเป็นชายหรือหญิง โดยจะต้องให้แพทย์รับรองว่ามีความลื่นไหลทางเพศจริง แต่กลุ่มสิทธิคนหลากหลายทางเพศวิจารณ์เงื่อนไขดังกล่าว เพราะน่าจะให้ระบุได้เลยโดยไม่ต้องให้แพทย์ยืนยัน
“เป็นเช่นอื่น อยู่ภายใน” นิทรรศการภาพถ่ายและงานจัดแสดงของ สมัคร์ กอเซ็ม ที่จะพาเราทุกคนไปสำรวจโลกของชาวเพศหลากหลายที่ต้องมีชีวิตอยู่ใต้เงาของศาสนาอิสลาม