จับตาโควิด JN.1 พบในไทยแล้ว 40 ราย จ่อเป็นสายพันธุ์ระบาดหลักแทน XBB
พบโควิดสายพันธุ์ JN.1 ในไทย 40 รายแล้ว จับตาเป็นสายพันธุ์ระบาดหลักแทน XBB
แท็ก
พบโควิดสายพันธุ์ JN.1 ในไทย 40 รายแล้ว จับตาเป็นสายพันธุ์ระบาดหลักแทน XBB
องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุให้โควิดโอมิครอนสายพันธุ์ใหม่ JN.1 เป็นสายพันธุ์ที่น่าสนใจ (Variants of Interest - VOI) แต่ยังถือว่าไม่เป็นภัยต่อสุขภาพประชาชนเท่าใดนัก ตามรายงานของรอยเตอร์
WHO ประกาศจับตาโควิดสายพันธุ์ JN.1 เชื้อโควิดสายพันธุ์ใหม่ให้เป็น “สายพันธุ์ที่ต้องให้ความสนใจ” หลังพบแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วในหลายประเทศ
เฟคนิวส์ รบ.งดจัดปีใหม่ เหตุโควิดสายพันธุ์ใหม่ระบาด อย่าเชื่อ-อย่าแชร์ข่าวปลอม และอย่าชะล่าใจโรคระบาด
กรมวิทย์ฯ ตรวจพบสายพันธุ์ XBB.1.5 ลูกผสมของโอมิครอนสายพันธุ์ BJ.1 และ BM.1.1.1 ในไทย จำนวน 2 ราย ขณะนี้ยังไม่มีข้อมูลความรุนแรงกว่าสายพันธุ์ย่อยอื่น
หมอมนูญ เตือนรับมือโควิดสายพันธุ์ XBB ระบาดที่อินเดีย คาดอีกไม่นานจะมาถึงไทย ติดง่าย หลบภูมิเก่งกว่าเดิม
ไทยเจอแล้วรายแรก โควิดสายพันธุ์ "เดลตาครอน" คาดยังไม่รุนแรงแต่แพร่ง่าย ปัจจุบันผู้ป่วยหายเป็นปกติดีแล้ว
ใจชื้นขึ้นมาหน่อย! "โมเดอร์นา" เผยวัคซีนรุ่นใหม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ 2 เท่า ป้องกันโควิดสายพันธุ์โอมิครอนและเดลตาได้นาน 6 เดือนหลังการฉีด
"หมอมนูญ" เผยพยาบาลสาววัย 27 ปี ได้รับวัคซีนโควิด 4 เข็ม แต่ยังติดเชื้อโอมิครอน 2 ครั้งในรอบ 1 เดือน ถือว่าเป็นเหตุที่เกิดขึ้นได้น้อยมาก ประมาณ 1 ใน 4 หมื่นคนเท่านั้น
กระทรวงสาธารณสุข เผย เริ่มพบการติดเชื้อโควิดในเด็กเล็กมากขึ้น โดยเฉพาะเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีที่มีโรคประจำตัว จะมีความเสี่ยงอาการรุนแรงและเสียชีวิตสูง เนื่องจากยังรับวัคซีนไม่ได้ โดยกลุ่มอายุ 0-6 เดือน มีความเสี่ยงอาการรุนแรงสูงสุด ย้ำผู้ปกครองสังเกตอาการ หากที่บ้านมีผู้ป่วยโควิดหรือผู้สัมผัสเสี่ยงสูงและเด็กมีอาการป่วยให้รีบพาไปพบแพทย์ทันที
กรมวิทย์ฯ พบชายไทย อาชีพพนักงานเดลิเวอรี่ ติดโอมิครอนลูกผสม BA.1 + BA.2 คาดเป็นสายพันธุ์ XJ
นักไวรัสวิทยา ชี้โควิดสายพันธุ์ XE กับ BA.2 หน้าตาเหมือนกัน 100% อย่ากลัว XE มากกว่า BA.2 ที่มีอยู่เต็มเมืองตอนนี้
องค์การอนามัยโลก (WHO) เปิดเผยว่า XE ซึ่งเป็นสายพันธุ์ย่อยตัวใหม่ล่าสุดของโอมิครอนนั้น ดูเหมือนว่าจะสามารถแพร่เชื้อได้มากกว่า BA.2 ซึ่งเป็นสายพันธุ์ย่อยของโอมิครอนเช่นกัน อยู่ราว 10% แต่ยังไม่สามารถสรุปได้ว่าจะมีความรุนแรงขึ้น
กระทรวงสาธารณสุข เผย การถอดรหัสพันธุกรรมโควิดทั้งตัว เจอลูกผสม "เดลตาครอน" 73 ราย รอระบบฐานข้อมูลโลก GISAID วิเคราะห์ยืนยัน เบื้องต้นยังไม่พบข้อมูลว่ารุนแรง หลบภูมิคุ้มกัน หรือแพร่เร็วจนมาแทนที่การระบาดของโอมิครอนในไทยที่ขณะนี้พบสูงสุด 99.95% ส่วนสายพันธุ์เดลตาแทบจะไม่พบแล้ว โอกาสเกิดลูกผสมเป็นเดลตาครอนจึงน้อยมาก
เกาหลีใต้รายงานผู้ติดเชื้อโควิดวันนี้ทะลุ 6.2 แสนราย เสียชีวิต 429 ราย ถือเป็นตัวเลขการติดเชื้อและเสียชีวิตรายวันในระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์
องค์การอนามัยโลก (WHO) ยืนยันว่า พบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส “เดลตาครอน” ในหลายประเทศ อาทิ ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์ และเดนมาร์ก โดยเดลตาครอนเป็นลูกผสมระหว่างไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์เดลตาและสายพันธุ์โอมิครอน
กระทรวงสาธารณสุข เผย โควิดในประเทศไทยเป็น “โอมิครอน” 99.7% สัดส่วน BA.2 เพิ่มขึ้นจาก 52% เป็น 68% และพบ 4 ราย ที่มีการกลายพันธุ์ S:I1221T เข้าข่าย BA.2.2 แต่ต้องรอการวิเคราะห์รายละเอียดและการกำหนดชื่อสายพันธุ์อย่างเป็นทางการจาก GISAID
นักวิจัยพบ "โอมิครอน" เกาะอยู่บนพื้นผิวสเตนเลส-พลาสติก-แก้ว ได้นานกว่า 7 วัน มากกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิม การล้างมือบ่อยๆ ยังคงจำเป็น
กระทรวงสาธารณสุข เผย การเปลี่ยนแปลงของสายพันธุ์โควิด 19 ในไทย ขณะนี้เป็นสายพันธุ์โอมิครอน BA.2 มากกว่า 50% เหตุแพร่เร็วกว่า BA.1 ประมาณ 1.4 เท่า การแพร่ในครัวเรือนเร็วขึ้น 10% แต่ความรุนแรงยังไม่แตกต่าง แนวทางการรักษายังเหมือนเดิม พร้อมออกคำแนะนำการตรวจทางห้องปฏิบัติการสำหรับโควิดฉบับใหม่ เตรียมเพิ่มการตรวจยืนยันด้วยวิธี LAMP และ CRISPR หากผ่านการอนุญาตจาก อย.
ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ วิเคราะห์สถานการณ์ว่าสายพันธุ์โอมิครอน BA.2 จะทำให้โควิดระบาดเป็นระลอกที่ 6 ในเมืองไทยได้หรือไม่